วันพฤหัสบดีที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

การวัดค่ากลางของข้อมูล




วัดค่ากลางของข้อมูล


การหาค่ากลางของข้อมูลที่เป็นตัวแทนของข้อมูลทั้งหมดเพื่อความสะดวกในการสรุปเรื่องราวเกี่ยวกับข้อมูลนั้นๆ จะช่วยทำให้เกิดการวิเคราะห์ข้อมูลถูกต้องดีขึ้น การหาค่ากลางของข้อมูลมีวิธีหาหลายวิธี แต่ละวิธีมีข้อดีและข้อเสีย และมีความเหมาะสมในการนำไปใช้ไม่เหมือนกัน ขึ้นอยู่กับลักษณะข้อมูลและวัตถุประสงค์ของผู้ใช้ข้อมูลนั้นๆ
ค่ากลางของข้อมูลที่สำคัญ มี 3 ชนิด คือ
1.        ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic mean)
2.       มัธยฐาน (Median)
3.       ฐานนิยม (Mode)
   1.   ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic mean)
         ใช้สัญลักษณ์ คือ   http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pisamorn_s/pictures/x.JPG
1.1 การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่
ให้ x 1 , x 2 , x 3 , …, x N เป็นข้อมูล N ค่า
http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pisamorn_s/pictures/21.JPG
ตัวอย่าง จากการสอบถามอายุของนักเรียนกลุ่มหนึ่งเป็นดังนี้ 14 , 16 , 14 , 17 , 16 , 14 , 18 , 17
1) จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตของอายุนักเรียนกลุ่มนี้
2) ถ้ามีนักเรียนมาเพิ่มอีก 1 คน และมีอายุเป็น 17 ปี ค่าเฉลี่ยเลขคณิตเป็นเท่าใด
3) เมื่อ 3 ปีที่แล้ว ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของอายุนักเรียนกลุ่มนี้เป็นเท่าใด
1) วิธีทำ
http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pisamorn_s/pictures/22.JPGhttp://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pisamorn_s/pictures/23.JPG
       ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของนักเรียนกลุ่มนี้ คือ 15.75 ปี
2) วิธีทำ     เดิมมีนักเรียน 8 คน แต่มีนักเรียนเพิ่มใหม่อีก 1 คน รวมมีนักเรียน 9 คน
http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pisamorn_s/pictures/24.JPG
        ค่าเฉลี่ยเลขคณิต คือ 15.89 ปี
                                                                  
3) วิธีทำ                                                                                                          
เมื่อ 3 ปีที่แล้ว 11 13 11 14 13 11 15 14
      อายุปัจจุบัน 14 16 14 17 16 14 18 17
http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pisamorn_s/pictures/25.JPG
เมื่อ 3 ปีที่แล้ว ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของอายุของนักเรียนกลุ่มนี้ คือ 12.75 ปี
1.2 ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลที่แจกแจงความถี่
ถ้า f 1 , f 2 , f 3 , … , f k เป็นความถี่ของค่าจากการสังเกต x 1 , x 2 , x 3 ,…. , x k
http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pisamorn_s/pictures/26.JPG
  http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pisamorn_s/pictures/27.JPG
ตัวอย่าง จากตารางแจกแจงความถี่ของคะแนนสอบของนักเรียน 40 คน ดังนี้ จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต

คะแนน
จำนวนนักเรียน (f 1)
x 1
f 1x 1
11 – 12
21 – 30
31 – 40
41 – 50
51 - 60
7
6
8
15
4
15.5
25.5
35.5
45.5
55.5
108.5
153
284
682.5
222
http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pisamorn_s/pictures/28.JPG  http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pisamorn_s/pictures/29.JPG

วิธีทำ
http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pisamorn_s/pictures/x.JPG  =   http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pisamorn_s/pictures/30.JPG
        =   http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pisamorn_s/pictures/31.JPG
        =   34
    ค่าเฉลี่ยเลขคณิต = 34
                                                                               
สมบัติที่สำคัญของค่าเฉลี่ยเลขคณิต                                      
1. http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pisamorn_s/pictures/32.JPG = http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pisamorn_s/pictures/33.JPG
2. http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pisamorn_s/pictures/34.JPG = 0
3. http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pisamorn_s/pictures/35.JPG น้อยที่สุด  เมื่อ M = http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pisamorn_s/pictures/x.JPG หรือ    http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pisamorn_s/pictures/36.JPGhttp://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pisamorn_s/pictures/37.JPGhttp://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pisamorn_s/pictures/38.JPG
       เมื่อ M เป็นจำนวนจริงใดๆ
 4. http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pisamorn_s/pictures/39.JPG
5. ถ้า y 1 = a xi + b , I = 1, 2, 3, ……., N เมื่อ a , b เป็นค่าคงตัวใดๆแล้ว
http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pisamorn_s/pictures/40.JPG = a http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pisamorn_s/pictures/x.JPG + b
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตรวม ( Combined Mean )
ถ้า http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pisamorn_s/pictures/41.JPG เป็นค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดที่ 1 , 2 , … , k ตามลำดับ
ถ้า N 1 , N 2 , … , N k เป็นจำนวนค่าจากการสังเกตในข้อมูลชุดที่ 1 , 2 ,… , k ตามลำดับ
      http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pisamorn_s/pictures/42.JPG  =   http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pisamorn_s/pictures/43.JPG
      ตัวอย่าง ในการสอบวิชาสถิติของนักเรียนโรงเรียนปราณีวิทยา ปรากฏว่านักเรียนชั้น ม.6/1 จำนวน 40 คน ได้ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบเท่ากับ 70 คะแนน นักเรียนชั้น ม.6/2 จำนวน 35 คน ได้ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบเท่ากับ 68 คะแนน นักเรียนชั้น ม.6/3 จำนวน 38 คน ได้ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบเท่ากับ 72 คะแนน จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบของนักเรียนทั้ง 3 ห้องรวมกัน
วิธีทำhttp://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pisamorn_s/pictures/x.JPG รวม =    http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pisamorn_s/pictures/44.JPG
                                                                                          =     http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pisamorn_s/pictures/45.JPG
                                                                                          =  70.05
2 .  มัธยฐาน (Median)
   
ใช้สัญลักษณ์ Med คือ ค่าที่มีตำแหน่งอยู่กึ่งกลางของข้อมูลทั้งหมด เมื่อได้เรียงข้อมูลตามลำดับ ไม่ว่าจากน้อยไปมาก หรือจากมากไปน้อย
   การหามัธยฐานของข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจงความถี่
   หลักการคิด
  
1 ) เรียงข้อมูลที่มีอยู่ทั้งหมดจากน้อยไปมาก หรือมากไปน้อยก็ได้
    2) ตำแหน่งมัธยฐาน คือ ตำแหน่งกึ่งกลางข้อมูล ดังนั้นตำแหน่งของมัธยฐาน = http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pisamorn_s/pictures/46.JPG
        เมื่อ N คือ จำนวนข้อมูลทั้งหมด
    3) มัธยฐาน คือ ค่าที่มีตำแหน่งอยู่กึ่งกลางของข้อมูลทั้งหมด
  ข้อควรสนใจ
1. เนื่องจากตำแหน่งกึ่งกลางเป็นตำแหน่งที่เราจะหามัธยฐาน ดังนั้น เราจะเรียกตำแหน่งนี้ว่า ตำแหน่งของมัธยฐาน
  2. เราไม่สามารถหาตำแหน่งกึ่งกลางโดยวิธีการตามตัวอย่างข้างต้น เพราะต้องเสีย เวลาในการนำค่าจากการสังเกตมาเขียนเรียงกัน        ทีละตำแหน่ง ดังนั้น เราจะใช้วิธีการคำนวณหา โดยสังเกตดังนี้
       ตำแหน่งมัธยฐาน = http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pisamorn_s/pictures/52.JPG
3. ในการหามัธยฐาน ความสำคัญอยู่ที่ นักเรียนต้องหาตำแหน่งของมัธยฐานให้ได้ เสียก่อนแล้วจึงไปหาค่าของข้อมูล ณ ตำแหน่งนั้น
ตัวอย่าง กำหนดให้ค่าจากการสังเกตในข้อมูลชุดหนึ่ง มีดังนี้
                      5, 9, 16, 15, 2, 6, 1, 4, 3, 4, 12, 20, 14, 10, 9, 8, 6, 4, 5, 13
                       จงหามัธยฐาน
    วิธีทำ เรียงข้อมูล 1 , 2 , 3 , 4 , 4 , 4 , 5 , 5 , 6 , 6 , 8 , 9 , 9 , 10 , 12 , 13 , 14 , 15 , 16 , 20
   ตำแหน่งมัธยฐาน = http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pisamorn_s/pictures/52.JPG
= http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pisamorn_s/pictures/53.JPG
= 10.5
       ค่ามัธยฐาน = http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pisamorn_s/pictures/54.JPG = 7
การหามัธยฐานของข้อมูลที่จัดเป็นอันตรภาคชั้น   ขั้นตอนในการหามัธยฐานมีดังนี้
   (1)     สร้างตารางความถี่สะสม
   (2)หาตำแหน่งของมัธยฐาน คือ http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pisamorn_s/pictures/55.JPG
        เมื่อ N เป็นจำนวนของข้อมูลทั้งหมด
   (3) ถ้า   http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pisamorn_s/pictures/55.JPG เท่ากับความถี่สะสมของอันตรภาคชั้นใด อันตรภาคชั้นนั้นเป็นชั้น มัธยฐาน และมีมัธยฐานเท่ากับขอบบน
        ของอันตรภาคชั้นนั้น ถ้า http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pisamorn_s/pictures/55.JPG ไม่เท่าความถี่สะสมของอันตรภาคชั้นใดเลย อันตรภาคชั้นแรกที่มีความถี่สะสมมากกว่า   http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pisamorn_s/pictures/55.JPG
        เป็นชั้นของมัธยฐาน และหามัธยฐานได้จากการเทียบบัญญัติไตรยางค์ หรือใช้สูตรดังนี้
        จากข้อมูลทั้งหมด N จำนวน ตำแหน่งของมัธยฐานอยู่ที่ http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pisamorn_s/pictures/55.JPG
        Med = http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pisamorn_s/pictures/56.JPG
          เมื่อ L คือ ขอบล่างของอันตรภาคชั้นที่มีมัธยฐานอยู่
http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pisamorn_s/pictures/57.JPG     คือ ผลรวมของความถี่ของทุกอันตรภาคชั้นที่มีมัธยฐานอยู่
      f M คือ ความถี่ของชั้นที่มีมัธยฐานอยู่
         I คือ ความกว้างของอันตรภาคชั้นที่มีมัธยฐานอยู่
       N คือ จำนวนข้อมูลทั้งหมด
ตารางที่มีชั้นแบบเปิด จะหา http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pisamorn_s/pictures/x.JPG ไม่ได้ แต่หามัธยฐานและฐานนิยมได้ ถ้าตำแหน่ง
เท่ากับความถี่สะสม ( หรือเป็นตัวสุดท้ายของชั้น ) ให้ตอบขอบบนของชั้นนั้น
3.  ฐานนิยม (Mode)
  การหาฐานนิยมของข้อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่
  หลักการคิด
- ให้ดูว่าข้อมูลใดในข้อมูลที่มีอยู่ทั้งหมด มีการซ้ำกันมากที่สุด( ความถี่สูงสุด) ข้อมูลนั้นเป็นฐานนิยมของข้อมูลชุดนั้น
   หมายเหตุ
- ฐานอาจจะไม่มี หรือ มีมากกว่า 1 ค่าก็ได้
  สิ่งที่ต้องรู้
1. ถ้าข้อมูลแต่ละค่าที่แตกต่างกัน มีความถี่เท่ากันหมด เช่น ข้อมูลที่ประกอบด้วย 2 , 7 , 9 , 11 , 13 จะพบว่า แต่ละค่าของข้อมูลที่แตกต่างกัน จะมีความถี่เท่ากับ 1 เหมือนกันหมด ในที่นี้แสดงว่า ไม่นิยมค่าของข้อมูลตัวใดตัวหนึ่งเป็นพิเศษ  ดังนั้น เราถือว่า ข้อมูลในลักษณะดังกล่าวนี้ ไม่มีฐานนิยม  2. ถ้าข้อมูลแต่ละค่าที่แตกต่างกัน มีความถี่สูงสุดเท่ากัน 2 ค่า เช่น ข้อมูลที่ ประกอบด้วย 2, 4, 4, 7, 7, 9, 8, 5 จะพบว่า 4 และ 7 เป็นข้อมูลที่มีความถี่สูงสุดเท่ากับ 2 เท่ากัน ในลักษณะเช่นนี้ เราถือว่า ข้อมูลดังกล่าวมีฐานนิยม 2 ค่า คือ 4 และ 7
   3. จากข้อ 1, 2, และตัวอย่าง แสดงว่า ฐานนิยมของข้อมูล อาจจะมีหรือไม่มีก็ได้ ถ้ามีอาจจะมีมากกว่า 1 ค่าก็ได้
การหาฐานนิยมของข้อมูลที่มีการแจกแจงเป็นอันตรภาคชั้น   การประมาณอย่างคร่าวๆ
   ฐานนิยม คือ จุดกึ่งกลางชั้นที่มีความถี่สูงสุด
   ตัวอย่าง จากตารางแจกแจงความถี่ต่อไปนี้ จงหาฐานนิยมโดยประมาณอย่างคร่าวๆ

คะแนน
ความถี่
20-29
30-39
40-49
50-59
60-69
2
10
15
13
5

อันตรภาคชั้นที่มีความถี่สูงสุด คือ 40-49

                              จุดกลางชั้น คือ http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pisamorn_s/pictures/58.JPG
 

                                                                                                          
ดังนั้น ฐานนิยมโดยประมาณ คือ 44.5
คุณสมบัติที่สำคัญของฐานนิยม1.     ฐานนิยมสามารถหาได้จากเส้นโค้งของความถี่ และฮิสโทแกรม
2.    ในข้อมูลแต่ละชุด อาจจะมีฐานนิยมหรือไม่มีก็ได้ ถ้ามี อาจจะมีเพียงค่าเดียว หรือหลายค่าก็ได้
3.   ให้ X 1, X 2, X 3, ….., X N เป็นข้อมูลชุดหนึ่งที่มีฐานนิยมเท่ากับ Mo
       ถ้า k เป็นค่าคงตัว จะได้ว่า X 1+k, X 2+k, X 3+k, …., X N+k เป็นข้อมูลที่มีฐานนิยมเท่ากับ Mo + k
4.   ให้ X 1, X 2, X 3, …., X N เป็นข้อมูลชุดหนึ่งที่มีฐานนิยมเท่ากับ Mo
       ถ้า k เป็นค่าคงตัว ซึ่ง k =/= 0 จะได้ว่า kX 1, kX 2, kX 3, …, kX N จะเป็นข้อมูลที่มีฐานนิยมเท่ากับ kMo
       คุณสมบัติข้อที่ 3 และ 4 ก็เช่นเดียวกับค่าเฉลี่ยเลขคณิต และมัธยฐาน กล่าวคือ ถ้านำค่าคงตัวไปบวก หรือคูณกับค่าจากการสังเกตทุกตัวในข้อมูลชุดหนึ่ง ฐานนิยมของข้อมูลชุดใหม่นี้ จะเท่ากับ ฐานนิยมของข้อมูลชุดเดิม บวกหรือคูณกับค่าคงตัวดังกล่าว ตามลำดับ ( อย่าลืม ! ถ้าเป็นการคูณ ค่าคงตัวที่นำไปคูณไม่เท่ากับศูนย์)




ที่มา
http://e-learning.snru.ac.th/els/somjit/wadka.htm